hawaiivacationcondosoahu.com

ปากกา เท ส ไฟ

หมวด: ข่าวกิจกรรมมหาวิทยาลัย เผยแพร่เมื่อ: วันพฤหัสบดี, 24 มีนาคม 2565 13:30 ฮิต: 16 พิมพ์ วั นที่ 24 มีนาคม 2565 ผศ. ดร. ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเป็นประธานเปิดโครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC)เรื่อง การสร้างสุขและจิตสำนึก ด้วยโปรแกรมสติมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงแก่คณะทำงานข้ามสายงาน ณ ห้องประชุม สุพจน์ มิเถาวัลย์ ชั้น 2 อาคารอำนวยการ โดยนายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ที่ปรึกษากรมสุขภาพจิตเป็นวิทยากรกระบวนการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC)เรื่อง การสร้างสุขและจิตสำนึก ด้วยโปรแกรมสติมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงแก่คณะทำงานข้ามสายงาน ซึ่งมีคณะผู้บริหาร อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนร่วมการสัมมนาในครั้งนี้ ที่มา: งานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร

สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC การสร้างสุขและจิตสำนึกด้วยโปรแกรมสติ

ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นดังนี้ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2553) 1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน 5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทํางาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง 8. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิดรวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง 10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน บทบาทของอาจารย์ผู้สอน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดังนี้ (ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ, 2550) จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการในการพัฒนาผู้เรียนและเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงของผู้เรียน 1.

นวัตกรรมห้องเรียนคุณภาพ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ วิชา โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ด้วย Active Learning - YouTube

⋄ สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง

รูปแบบวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning เทคนิควิธีสอนที่เน้นการเรียนรู้เชิงรุก | ครูสมาร์ทดอทคอม : เครือข่ายครูและบุคลากรทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

หมวด: ข่าวกิจกรรมมหาวิทยาลัย เผยแพร่เมื่อ: วันศุกร์, 25 มีนาคม 2565 10:35 ฮิต: 10 พิมพ์ วันที่ 24 มีนาคม 2565 ผศ. ดร. สำราญ สุขแสวง คณบดีวิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทยเป็นประธานเปิดโครงการสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชนด้วยสมุนไพรใกล้ตัว สนองพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ. สธ. ) ณ โรงเรียนบ้านหนองกระทุ่ม อ. จอมบึง จ. ราชบุรี โดยคณะผู้บริหาร อาจารย์ ครู นักศึกษาและประชาชนร่วมกิจกรรมพร้อมร่วมปลูกสมุนไพรบริเวณแปลงสาธิตของโรงเรียน โดยวิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทยร่วมกับโรงเรียนเครือข่ายจัดขึ้น ซึ่งพืชผักสวนครัวเหล่านี้ล้วนเป็นสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติที่ใช้ดูแลสุขภาพตนเองหรือรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นได้ ดังนั้นคณะทำงานจึงเห็นว่า เพื่อสนองพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ. ) จึงจัดทำโครงการนี้เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนสร้างสุขภาพดีด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ส่งเสริมให้มีการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน และให้ความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเป็นแนวทางให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองให้อยู่บนพื้นฐานของความพอเพียงและการประยุกต์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีในชุมชนเพื่อดูแลสุขภาพได้อย่างยั่งยืน อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสมุนไพรในชุมชนให้คงอยู่ต่อไป ที่มา: งานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร

วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามข่าวสารและความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ เฟซบุ๊กแฟนเพจ ยูทูบช่อง 'thaiedreform2022' และทวิตเตอร์ ที่มา: เจซีแอนด์โค คอมมิวนิเคชั่นส์

การเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Collaborative learning group) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยจัดเป็นกลุ่มๆ ละ 3-6 คน 3. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน ( Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มีปัญหา 4. การเรียนรู้แบบใช้เกม ( Games) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนนำเกมเข้าบูรณาการใน การเรียนการสอน ซึ่งใช้ได้ทั้งในขั้นการนำเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรือขั้นการประเมินผล 5. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ ( Analysis or reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การเขียน หรือ การร่วมกันสรุปเป็นรายกลุ่ม 6. การเรียนรู้แบบโต้วาที ( Student debates) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนได้ นำเสนอข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพื่อยืนยันแนวคิดของตนเองหรือกลุ่ม 7.

  • ประกาศย้ายและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู – สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2
  • วิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทยจัดโครงการสร้างสุขภาพดีวิถีชุมชนด้วยสมุนไพรใกล้ตัวสนองพระราชดำริ
  • เจาะลึก “4 มิติ สวนผึ้งโมเดล” ออกแบบห้องเรียนแก้เหลื่อมล้ำในทุกมิติ กับภารกิจที่เด็กไทยทุกคนต้องได้เรียน | ThaiPR.NET
  • สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC การสร้างสุขและจิตสำนึกด้วยโปรแกรมสติ
  • The Privacy Jatujak (เดอะ ไพรเวซี่ จตุจักร) คอนโดมิเนียมย่านจตุจักร ติดถนนใหญ่วิภาวดีรังสิต ใกล้ห้าแยกลาดพร้าว | รีวิว คอนโด บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ทาวน์โฮม อสังหาฯ
  • การ จัดการ เรียน รู้ active learning blog
May 26, 2022
short-term-rental-taxes-denver